ประวัติโรงเรียน


ประวัติโรงเรียน
            โรงเรียนบ้านยางชุมใหญ่ตั้งขึ้นเมื่อวันที่  21  กรกฎาคม  2479  โดยขุนอุทิศ  ศึกษากร  ศึกษาธิการอำเภอเมืองศรีสะเกษ  และนายจร  วรวงศ์  ปลัดอำเภอทำหน้าที่แทนนายอำเภอเมืองศรีสะเกษ  โดยได้รับความเอื้อเฟื้อจากพระอธิการ  พุฒ  นามวงศ์  เจ้าอาวาสวัดบ้านยางชุมใหญ่  เดิมบ้านยางชุมใหญ่ได้รับการยกเว้นไม่เข้าเรียนตามพระราชบัญญัติประถมศึกษา  เพราะอยู่ห่างไกลจากโรงเรียนที่จัดตั้ง  ได้ใช้ศาลาการเปรียญเป็นสถานที่ศึกษาเล่าเรียน  ในตอนแรกเข้าเรียนเฉพาะผู้ชายที่สมัครใจเรียน  เมื่อได้ตั้งโรงเรียนขึ้นเป็นทางการแล้วจึงเกณฑ์เด็กเข้าเรียนทั้งชายและหญิง  และตั้งชื่อว่า  โรงเรียนประจำตำบลลิ้นฟ้า  2 ”  ( วัดบ้านยางชุมใหญ่ ต่อมา
เมื่อปี พ.ศ.2514 ได้ย้ายจากศาลาวัดออกมาตั้งโรงเรียนเป็นเอกเทศ ได้ เปลี่ยนชื่อเป็น  โรงเรียนบ้านยางชุมใหญ่ ”  จนถึงปัจจุบัน โดยการแนะนำของ พระครูสมุห์อ่อน  จุลวังโส และนายพรม สิทธิโท อดีตครูใหญ่ พร้อมด้วยคณะครู ที่มีนายวีระพงษ์ เชาว์ชอบเป็นครูใหญ่ และชาวบ้าน กรรมการการศึกษาจัดหาที่ดินเพิ่มเติมโดยการขอบริจาคและแผ้วถาง และได้รับการจัดสรรจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดศรีสะเกษให้ก่อสร้างอาคารเรียนหลังใหม่ แบบ ป1.ซ ราคา 120,000.00บาท    พ.ศ.  2515  โดยมีผู้บริหารหัวหน้าสถานศึกษาตามลำดับ  ดังนี้
            1.  นายพรม     สิทธิโท                        ครูใหญ่                        2479 2488
            2.  นายพันธ์     คำจันทร์                      ครูใหญ่                        2488 2490
            3.  นายปุ้ย        อุปสาร                        ครูใหญ่                        2490 2492
            4.  นายยรรยง   สารพันธ์                     ครูใหญ่                        2492 2494
            5.  นายสอน     กาหลง                        ครูใหญ่                        2494 – 2496
            6.  นายสมพร   บุญจันทร์                    ครูใหญ่ ( รักษาการ )   2496 – 2496
            7.  นายประหยัด          บุตรภักดีธรรม  ครูใหญ่                        2496 – 2502
            8.  นายสมพร   บุญจันทร์                    ครูใหญ่                        2502 – 2503
            9.  นายประสิทธิ์          ชิณวงษ์ รักษาการในตำแหน่งครูใหญ่    2503 – 2504
            10.  นายสิงห์   ศรีใส                           ครูใหญ่                        2504 – 2511
            11.  นายวีระพงษ์         เชาว์ชอบ        ครูใหญ่                        2511 – 2523
            12.  นายณรงค์ นามวงศ์                     ครูใหญ่                        2523 – 2526
            13.  นายณรงค์ นามวงศ์                     อาจารย์ใหญ่,ผู้อำนวยการ 2526 – 2543
            14.นายอุดม     นามวงศ์                     อาจารย์ใหญ่                2543- ปัจจุบัน
                        ในปี พ.ศ.2514 มีผู้มอบที่ดินสร้างโรงเรียน มีรายนามและที่ดินดังนี้
            1.นายพรม       สิทธิโท                        1 ไร่     3 งาน   25 ตารางวา
            2.นายเสาร์       นามวงษ์                      50 ตารางวา
            3.นายเสาร์       อำไพ                           1 ไร่     1งาน    29 ตารางวา
            4.นางหม่าน     อำไพ                           1งาน    25 ตารางวา
            5.นายผัน         ขันคำ                           3 งาน
            6.นางทุมมา     นามวงษ์                      1 งาน   76ตารางวา
            7.นางน้อย        นามวงษ์                     2 งาน
            8.นางจันทร์     นามวงษ์                      20 ตารางวา
            9.นางคำตา      ชิณวงษ์                      1 ไร่     1 งาน
            10.นายสังข์     นามวงษ์                     20 ตารางวา
            11.นางเบื่อง     นามวงษ์                    1ไร่      2 งาน   20 ตารางวา
            12.นายเล่ห์      ตามบุญ                      1ไร่
            13.นางคำคูณ   สมใจ                         2งาน    20 ตารางวา
            14.นายทรัพย์   โตมร                          1ไร่      2งาน
            15.นางที           นามวงศ์                    1ไร่      1งาน
            16.ที่ดินสาธารณะประโยชน์ส่วนโรงเรียน     5ไร่      1งาน    40 ตารางวา
                        เนื่องจากที่ดินดังกล่าวเป็นป่าละเมาะรกรุงรังชาวบ้านร่วมกันถากถางขุดตอไม้ จนโล่งเตียน สามารถสร้างอาคารเรียน และสนามกีฬาได้
                        ในปี พ.ศ.2515 เปิดทำการสอน การศึกษาภาคบังคับ ป1-ป.7 โดยเปิดทำการสอนชั้น ป.5 เป็นรุ่นแรก
                        ในปี พ.ศ.2516 ได้รับงบประมาณสร้างบ้านพักครู ศก.11 จำนวน2 หลังมูลค่า 50,000บาท
                        ในปี พ.ศ.2517 เปิดสอนบังคับชั้น ป1-ป7 มีนักเรียนจบชั้น ป.7 เป็นรุ่นแรก
                        ในปี พ.ศ.2518 ได้รับงบประมาณ ก่อสร้างโรงฝึกงานแบบ ศก.23 จำนวน1หลังมูลค่า55,000บาท
                        ในปี พ.ศ.2519 ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนหลังที่2แบบ ศก01จำนวน1หลังมูลค่า180,000บาท
                        ในปี พ.ศ.2520 ได้รับงบประมาณก่อสร้างบ้านพักครูแบบศก.04จำนวน 2หลังมูลค่า80,000บาท และได้จัดงานหาเงินลาดพื้นชั้นล่างอาคาร1แบบ ป1ซ จำนวน 3ห้องเรียนเป็นเงิน 7,500บาท ขุดบ่อเลี้ยงปลา1งาน ถมที่ทำการเกษตร1งานมูลค่า 5,000บาท
                        นายวีระพงษ์  เชาว์ชอบ ลาศึกษาต่อ นายณรงค์  นามวงศ์  รักษาการในตำแหน่งครูใหญ่
                        ในปี พ.ศ.2521 โรงเรียนได้รับการคัดเลือกเป็นโรงเรียนดีเด่นระดับอำเภอ เปิดทำการสอนภาคบังคับ ถึงชั้น ป.6
                        ในปี พ.ศ.2522 นายวีระพงษ์ เชาว์ชอบกลับจากลาศึกษาต่อ และได้รับแต่งตั้งให้ไปดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่ โรงเรียนบ้านยางชุมน้อย(หน่วยฯ)มอบให้นายณรงค์  นามวงศ์รักษาการในตำแหน่งครูใหญ่ ใน พ.ศ.2523นายอุดม นามวงศ์ เป็นผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่
                        ในปี พ.ศ.2524 ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียน แบบ ศก .04ก จำนวน 1หลังมูลค่า420,000บาท และได้รับงบประมาณต่อเติมชั้นล่างอาคาร1แบบ ป1ซ เป็นที่ตั้งสำนักงานกลุ่ม2 ห้องเรียนมูลค่า10,000บาท
                        ในปี พ.ศ.2525 โรงเรียนได้ดำเนินงานจัดงานหาเงินทำรั้วคอนกรีตโรงเรียน ยาว 110 เมตรและซุ้มประตู2 ด้าน มูลค่า 18,000บาท ได้รับการคัดเลือกจากสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติเป็นผู้นำการใช้หลักสูตรใหม่ดีเด่น
                        ในปี พ.ศ.2526ได้รับงบประมาณต่อเติมชั้นล่างอาคารแบบ ศก04ก  จำนวน 3ห้องเรียน และได้อาคารแบบ ศก01จำนวน 1หลัง มูลค่า 120,000บาท และได้รับการบริจาครถตัดหญ้าจากผู้มีจิตศรัทธา 1 คันเครื่องขยายเสียง 1ชุด พัดลม 1 เครื่อง ม้านั่งหินขัด 1 ชุดเครื่องสูบน้ำ1 เครื่อง  และปุ๋ยเคมี 1กระสอบ มูลค่ารวม27,000บาท โรงเรียนได้รับคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนดีเด่น ระดับอำเภอครั้งที่ 2 และเป็นโรงเรียนดีเด่นอันดับที่ 12 ของจังหวัดศรีสะเกษ
                        ในปี พ.ศ.2527 ได้รับงบประมาณสร้างสนามกีฬาฟุตบอลมูลค่า45,000บาท สร้างถังน้ำฝ 33 มูลค่า 29,000บาท สร้างส้วม 1หลัง 4 ที่ แบบสปช.601/26 มูลค่า 29,000บาท ได้รับบริจาคสิ่งของจากชาวบ้านคิดเป็นมูลค่า 19,538 บาท ได้รับโล่ห์เงินจากสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติและกรรมการศึกษาได้รับคัดเลือกเป็นกรรมการศึกษาดีเด่นระดับอำเภอ
                        ในปี พ.ศ.2528 โรงเรียนได้รับการสนับสนุนจากชาวบ้านมอบวัสดุสิ่งของเครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์การกีฬา ทำกรอบถนน ทำท่อประปาโรงเรียนมูลค่า 31,400บาท ได้รับโล่ห์เงินจากสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติเป็นครั้งที่ 2
                        ในปี พ.ศ.2529 ได้รับความร่วมมือจากชุมชน สนับสนุนการศึกษามอบตู้ลำโพงขนาดใหญ่ 2 ตู้ มอบเครื่องขยายเสียง 250 วัตต์ 1 เครื่องพร้อมอุปกรณ์ ไมโครโฟนมูลค่า 27,000บาท
                        ในปี พ.ศ.2530 ได้รับงบประมาณจำนวน 40,000บาท สร้างส้วมแบบ ศก601/26 จำนวน 1หลัง 6 ที่ และได้รับงบประมาณติดตั้งไฟฟ้าโรงเรียน มูลค่า 69,300บาท ได้รับบริจาคสิ่งของ โทรทัศน์ขาวดำ 1 เครื่อง อุปกรณ์ไฟฟ้า เทป วิทยุ ไมโครโฟน ตู้เย็น เสื่อน้ำมันมูลค่า 16,450 บาท ได้รับโล่ห์เงินจากสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติเป็นครั้งที่3
                        ในปี พ.ศ.2531 ได้รับงบประมาณสร้างเรือนเพาะชำแบบ พ.1 จำนวนหนึ่งหลัง มูลค่า 15,000บาท ได้จัดทำโครงการต่างๆ สนองต่อนโยบายของรัฐในปีนี้ โรงเรียนได้รับคัดเลือกเป็นโรงเรียนจัดกิจกรรมอาหารกลางวันดีเด่นระดับอำเภอ และเป็นโรงเรียนจัดกิจกรรมมารยาทในสถานศึกษาดีเด่น จากสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
                        ในปี พ.ศ.2532 ได้รับงบประมาณ 10,000บาท เข้าร่วมโครงการอีสานเขียว ปรับเปลี่ยนเป็นโครงการ กศ.พช. ได้รับการคัดเลือกเป็นโรงเรียนในโครงการ กศ.พช.ดีเด่นระดับอำเภอ
                        ในปี พ.ศ.2533 ได้รับงบประมาณสร้างสนามวอลเล่ย์บอล 1 สนาม มูลค่า 70,000บาท เป็นโรงเรียนดีเด่นระดับอำเภอเป็นโรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในโครงการความเป็นเลิศทางวิชาการในวาระครอบรอบ 10 ปี ของการจัดตั้งสำนักงานการประถมศึกษาแห่งชาติ
                        ใน พ.ส.2534 ได้รับงบประมาณขุดบ่อเลี้ยงปลามูลค่า 60,000บาท ได้รับคัดเลือกเป็นโรงเรียนจัดกิจกรรมอาหารกลางวันดีเด่นประเภท 2 และได้เข้าร่วมโครงการแม่รักลูกหรือหนูรักผักสีเขียวของมหาวิทยาลัยมหิดล
                        ในปี พ.ศ.2535 ได้รับอนุมัติ จากกระทรวงศึกษาธิการเปิดทำการสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในโครงการ ขยายโอกาสทางการศึกษาขึ้นพื้นฐาน มีนักเรียนรุ่นแรก ม.1 จำนวน 45 คน
                        ในปี พ.ศ.2536 ได้จัดทำผ้าป่าในโครงการธารน้ำใจสู่เด็กไทยในชนบท เพื่อเป็นทุนการศึกษา วัสดุอุปกรณ์มูลค่า 115,845 บาทและได้ดำเนินการจัดทำ
                        1.ประปาโรงเรียน                    15,000บาท
                        2.ศาลาปรำพิธี(ศาลาธารน้ำใจ)มูลค่า 35,000บาท
                        3.ที่สำหรับปลูกไม้ดอกไม้ประดับ      23,000บาท
                        4.โรงเรือนเพื่อการเกษตร                    20,000บาท
                        5.เครื่องทำน้ำเย็น                                 3,500บาท
                        6.ไมโครโฟน 2ตัวพร้อมขาตั้งมูลค่า   1,500บาท
                        7.บริจาคสมทบทุนสร้างศาลาวัด        8,000บาท
                        8.ค่าใช้จ่ายอื่นๆ                                   4840 บาท
                        ในปี พ.ศ.2537 โรงเรียนได้รับความร่วมมือจากคณะผ้าป่า กรุงเทพฯ ศรีสะเกษ ในโครงการธารน้ำใจสู่เด็กไทยในชนบท เป็นวัสดุอุปกรณ์การศึกษา ต่อเติมห้องพิเศษต่างๆ มูลค่า 124,685 บาท และมีนักเรียนจบการศึกษาชั้น ม.ต้น จำนวน 38 คน
                        ในปี พ.ศ.2538 โรงเรียนได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการการประถมศึกษาจังหวัดศรีสะเกษเปิดโรงเรียนสาขาดอนโก 1 โรงเรียน เพื่อแก้ปัญหาการเดินทางมาโรงเรียนของนักเรียนเกินกว่า 3 กิโลเมตร เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2538 เปิดทำการสอนระดับก่อนประถมศึกษา ถึงระดับประถมศึกษาปีที่ 6 มอบหมายให้ครูไปทำการสอน เริ่มแรก 3 คนคือ 1.นายสุรชาติ บุญเสนอ 2.นายพีระพล  เชาว์ชอบ 3. สตท.มนัสชัย  คำเคน ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนแบบ สปช.105/29 จำนวน 2ชั้น 4ห้องเรียน มูลค่า 1,640,000บาท โรงเรียนได้รับงบประมาณก่อสร้างสนามบาสเก็ตบอล 1 สนาม มูลค่า 150,000บาทคณะครูร่วมกับบริจาควัสดุ แรงงานต่อเติมชั้นล่างอาคารเรียน สปช 105/29 จำนวน 1ห้องเรียนมูลค่า 25,000บาท เป็นห้องวิทยาศาสตร์
                        ในปีพ .ศ.2539 ได้รับคัดเลือกจากสำนักงานคณะกรรมการปฏิรูปการศึกษาจังหวัดศรีสะเกษ เข้าเป็นโรงเรียนปฏิรูปการศึกษา
                        โรงเรียนได้จัดงานเฉลิมฉลองวาระครบรอบการก่อตั้งโรงเรียนครบรอบ 60 ปี มีผู้มีจิตศรัทธาร่วมกันบริจาคเครื่องคอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง มูลค่า 47,500 บาทต่อเติมชั้นเรียนชั้นล่าง อาคาร สปช 105/29 จำนวน 1ห้องมูลค่า 25,000บาท
                        โรงเรียนสาขาดอนโก จัดหาเงินสมทบชาวบ้านนำผ้าป่าก่อสร้างอาคารเรียนชั่วคราวมูลค่า 150,000บาท พร้อมขุดบ่อบาดาล 1 ที่
                        ปี 2540 โรงเรียนสาขาดอนโก ได้รับงบประมาณขยายเขตไฟฟ้า ปักเสา พาดสาย แรงสูง ติดตั้งมิเตอร์ 30 K หม้อแปลง 20 แอมป์ปักเสาพาดสายแรงต่ำ เดินสายเข้าอาคารชั่วคราวสาขาดอนโก มูลค่า 111,000บาท ได้รับงบประมาณก่อสร้าง อาคารเรียนเอกเทศถาวร สปช.101/26 ขนาด 3ห ห้องเรียนใต้ถุนสูง 1 หลังมูลค่า 855,500บาท พร้อมติดตั้งไฟฟ้า ครุภัณ์ห้องเรียน ตู้เก็บเอกสาร 3 หลัง โต๊ะเก้าอี้ครู 3 ชุด โต๊ะเก้าอี้นักเรียน 90 ชุด
                        คณะครูกรรมการโรงเรียน ร่วมกันบริจาคถมที่ ถนน บริเวณโรงเรียน 35,000บาท คณะครูและชาวบ้านร่วมกันจัดทำรั้ว มูลค่า 10,000บาท คณะครูและชาวบ้านร่วมกันจัดทำโรงจอดรถยนต์ 1 โรง 6 ที่ มูลค่า 7,000บาท โรงจอดรถจักรยานยนต์ และจักรยานครูนักเรียน 50 ที่มูลค่า 13,100บาท
                        ในปี พ.ศ.2541 ได้รับงบประมาณขุดบ่อเลี้ยงปลา  กว้าง 50 เมตร ยาว 100 เมตร ลึก 3 เมตร จากกรมประมง ประมงจังหวัดศรีสะเกษ  ได้รับงบประมาณต่อเติมห้องเรียน 2 ห้องเรียนมูลค่า 180,000บาทได้รับการพิจารณาให้ได้รับคัดเลือกเป็นศูนย์ปฏิรูปการศึกษาประจำกลุ่มโรงเรียนยางชุมน้อยลิ้นฟ้า
                        ในปี พ.ศ.2542 โรงเรียนได้รับเงินจัดสรรในโครงการมิยาซาว่าก่อสร้างถับเก็บน้ำฝนแบบ ฝ30 พิเศษ4 ถัง
                        ในปี พ.ศ.2543 โรงเรียนได้รับจัดสรรสนามวอลเล่บอลย์จากการกีฬาแห่งประเทศไทย จำนวน 1 สนาม
                        เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2543 นายณรงค์  นามวงศ์ ได้รับแต่งตั้งให้ไปดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านคอนกาม และนายอุดม นามวงศ์ อาจารย์ใหญ่โรงเรียนบ้านหอยโนนดู่ มาดำรงตำแหน่ง อาจารย์ใหญ่โรงเรียนบ้านยางชุมใหญ่
                        ตุลาคม 2547 นายอุดม นามวงศ์ ไปดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านค้อเมืองแสน และนายวิจิตร นามวงษ์ น้องชาย ย้ายมาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านยางชุมใหญ่ จนถึงปัจจุบัน
                        วันที่ 13 เมษายน 2543 โรงเรียนจัดรับบริจาคหาเงินพัฒนาโรงเรียน ได้รับงบประมาณสนับสนุน
ปริมาณงานที่ปฏิบัติในรอบปี
          1.งานด้านวิชาการ
            1.จัดให้มีแผนงานโครงการของฝ่ายวิชาการ
        2.จัดให้มีการศึกษาหลักสูตร จัดวิเคราะห์หลักสูตร จัดทำตารางสอน จัดทำแผนการสอน จัดทำแฟ้มสะสมงาน การวัดผลประเมินผลระหว่างเรียน ก่อนเรียน หลังเรียน จัดทำจุดประสงค์รายวิชา และจัดทำคลังข้อสอบ จัดหาผลิตสื่อการเรียนการสอน  จัดการเรียนการสอนแบบปฏิรูปการเรียนรู้ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ เน้นกระบวนการ ให้วิเคราะห์วิจัยชั้นเรียน และจัดทำเอกสารประจำชั้นให้เป็นปัจจุบันทุกชั้นเรียน และทุกรายวิชา
            3.จัดให้มีรายงานผลการจัดการศึกษาทุกภาคเรียน ในรูปแบบเอกสาร แฟ้มงาน
         4.ส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ เน้นการเข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการ เช่นการตอบปัญหา วันสุนทรภู่ วันวิสาขบูชา ตอบปัญหาคณิตศาสตร์ ศ...ตอบปัญหาวิทยาศาสตร์สตรี ตอบปัญหาวิชาการเฉลิมพระเกียรติ,ตอบปัญหา ส...
            5.จัดให้มีการสอนซ่อมเสริมเด็กที่เรียนช้า กำชำให้ครูประจำชั้นเน้นเป็นพิเศษอย่างน้อยก็ให้คงสภาพอ่านออกเขียนได้ตามที่หลักสูตรกำหนด
            6.ส่งเสริมการใช้ห้องปฏิบัติการทางภาษา,ห้องวิทยาศาสตร์,ห้องสมุดเป็นแหล่งการเรียนรู้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
7.ผู้บริหารเข้าเยี่ยมชั้นเรียนและให้การนิเทศเดือนละ 2 ครั้ง หรืออย่างน้อย  1ครั้ง เพื่อเป็นการตรวจสอบการปฏิบัติงานของครู และเป็นการกระตุ้นการจัดกระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
            8.จัดให้มีกิจกรรมภาษาไทยวันละคำทุกชั้นเรียน ทุกเช้าหน้าเสาธงโดยครูฝ่ายวิชาการกำกับดูแล จัดให้มีกรรมการนักเรียนดำเนินการทางเครื่องขยายเสียงเป็นประจำ
            9.จัดให้มีการตอบปัญหาทางวิชาการทุกวันศุกร์ในตอนประชุมหลักงสวดมนต์ไหว้พระเสร็จแล้ว โดยครูฝ่ายวิชาการเป็นผู้ดำเนินการ มีการมอบรางวัลแก่นักเรียนที่จะตอบปัญหาทุกสัปดาห์
            10.ได้ไปเยี่ยมและนิเทศการเรียนการสอนที่โรงเรียนสาขาดอนโกเป็นประจำทุกเดือนอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อรับทราบปัญหาและให้ความช่วยเหลือในการบริหารและช่วยแก้ปัยหาต่างๆที่มีขึ้น

            2.งานบริหารบุคคลงานให้ขวัญกำลังใจแก่บุคลากร

            1.จัดให้มีการจัดกรอกแบบสำรวจคุณวุฒิ ความสามารถ ความต้องการของบุคลากร ตลอดทั้งประสบการณ์ในการทำงาน เพื่อให้การป้อนคนให้ตรงกับงานความรู้ความสามารถและความต้องการ ตลอดทั้งจัดให้มีการประชุมปรึกษาหารือในส่วนที่ต้องแก้ปัญหา เช่นการจัดชั้นเรียนอย่างยุติธรรม ใช้หลักประชาธิปไตย
            2.จัดให้มีการประชุมอบรมสัมมนาทางวิชาการงานในหน้าที่ ทั้งที่เป็นหน่วยงานอื่นจัดหรือโรงเรียนจัดเอง เพื่อพัฒนาบุคลากรให้พร้อมกับการปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ
            3.การมอบหมายงานจัดให้มีแผนผังสายงานที่ชัดเจน  ออกคำสั่งมอบหมายงานให้ทุกคนมองเห็นภาพงาน หน้าที่รับผิดชอบ หน้าที่จุดประสาน จุดบังคับบัญชาที่ชัดเจน ทำให้การทำงานมีคุณภาพ
            4.งานขวัญกำลังใจเป็นเรื่องที่โรงเรียนให้ความสำคัญเป็นพิเศษ เพราะเมื่อคนมีกำลังใจแล้วงานทุกอย่าง ปัญหาอุปสรรคก็ย่อมแก้ไขได้
5.จัดให้มีการประชุมครูในโรงเรียนเดือนละ 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 หลังจากประชุมคณะกรรมการกลุ่มไม่เกิน 3 วัน ครั้งที่ 2 หลักจากประชุมผู้บริหารประจำเดือนมาแล้วไม่เกิน 3 วัน
6.เมื่อต้นปีการศึกษา 2543 ได้นำคณะครูในโรงเรียนไปแสดงความยินดีต่ออาจารย์พัชรินทร์เหล่าโคตร อาจารย์ 2 ระดับ 5 โรงเรียนบ้านยางชุมใหญ่ในโอกาสที่คลอดบุตรได้สมาชิกคนใหม่ โดยคณะครูร่วมกันซื้อของขวัญมูลค่า 500 บาทไปมอบให้ และผูกแขนตามประเพณี
7.ในช่วงเดือนสิงหาคม 2543 น้ำท่วมบ้านพักของอาจารย์ทองอยู่  ด้วงโพนทัน และอาจารย์บันชิน  ด้วงโพนทัน ที่หมู่บ้านกุลวดีศรีสะเกษ ได้นำคณะครูไปช่วยขนสิ่งของหนีภัยน้ำท่วมและปลอบใจแก่ผู้ประสบภัย หลังจากน้ำลดได้นำคณะครูไปร่วมให้ขวัญกำลังใจ โดยคณะครูช่วยกันเสียสละเงินจำนวน 3000บาท มอบให้แก่ครอบครัวของอาจารย์ทองอยู่ ด้วงโพนทัน และร่วมรับประทานอาหารอย่างมีความสุข
8.ในโอกาสที่บุคลากรในโรงเรียนได้รับการเลื่อนตำแหน่งสูงขึ้น จำนวน 5 คน คือนายไพฑูรย์ นามวงษ์ นายทองอยู่  ด้วงโพนทัน นางบันชิน  ด้วงโพนทัน นางปิยนารถ จำปาเรืองและนางสาวฉวีวรรณ เชาว์ชาญ ผู้บริหารได้จัดหาอินทนูมอบให้ทุกคนและทำพิธีประดับในโอกาสวันประชุมประจำเดือน มูลค่าอินธนูจำนวน 1350 บาท
9.การรายงานผล การประเมินผล การจัดทำแฟ้มสะสมงาน บุคลากรให้ความร่วมมือ และมีความพร้อมที่จะทำแบบรายงานที่ตรงกับการพัฒนาตน พัฒนางาน อย่างเต็มที่ ทุกคน
3.งานกิจการนักเรียน
            1.นักเรียนคือบุคคลที่สำคัญที่สุด การพัฒนานักเรียนจะครบทุกสัดส่วน ทั้งสมอง ร่างกาย อารมณ์ สังคมได้ จำเป็นจะต้องมีกิจกรรมที่หลายหลายและทุกคนมีโอกาสเข้าร่วม โรงเรียนจัดให้มีแผนงานโครงการของฝ่ายกิจการนักเรียน
2.งานกีฬานักเรียนโรงเรียนได้ส่งเสริมสนับสนุนเป็นพิเศษ ส่งนักเรียนเข้าแข่งขันกีฬาจังหวัดศรีสะเกษ เมื่อต้นปีการศึกษา 2543 ได้เข้าถึงรอบชิงชนะเลิศตะกร้อชายอายุไม่เกิน12ปี การแข่งขันกีฬาภายในโรงเรียน นักเรียนมีโอกาสร่วมกิจกรรมทุกคน การแข่งขันกีฬากลุ่มที่โรงเรียนบ้านโนนโรงเรียนบ้านยางชุมใหญ่ได้คะแนนรวมสูงสุดของกลุ่ม และคัดเลือกนักกีฬาระดับอำเภอเข้าแข่งขันที่จังหวัดก็มีนักกีฬาเข้าร่วมมากที่สุด และมีโอกาสได้ชนะเลิศตะกร้อหญิงมัธยม เป็นที่ภาคภูมิใจของชาวอำเภอยางชุมน้อย
3.งานส่งเสริมความเป็นเลิศ งานมหกรรมวันประถม ทุกรายการ ทุกระดับชั้น ภายในโรงเรียน ในระดับอำเภอ  และระดับจังหวัด โรงเรียนบ้านยางชุมใหญ่ได้นำนักเรียนเข้าร่วมและมีกิจกรรมมากที่สุด งานวาดภาพ งานปั้น งานพิมพ์ดีด งานคอมพิวเตอร์ ยอดนักพูด ทั้งระดับอนุบาล ประถม และมัธยม
           4..จัดให้มีคณะกรรมการนักเรียนตรวจสอบกิจกรรมหน้าเสาธงตอนเช้าของนักเรียนในส่วนที่ได้รับมอบหมาย เช่น ด้านความสะอาดบริเวณ ด้านระเบียบวินัย ด้านสุขภาพอนามัยเป็นต้น แล้วรายงานหน้าเสาธงว่าปฏิบัติหรือไม่ อย่างไร
         5.งานส่งเสริมด้านจริยธรรม  อบรมระเบียบวินัย ความรับผิดชอบ การเรียน ความสะอาด ทุกวันศุกร์  ส่งนักเรียนร่วมตอบปัญหาธรรม  ได้ติดอันดับทั้งระดับประเทศและระดับอำเภอ  นักเรียนเน้นให้พูดคำสุภาพ  แต่งกายให้สะอาด
            4.งานธุรการการเงินและพัสดุ
          1.งานคู่กับเงิน เงินไม่มางานก็ไม่เดิน เงินจะมีได้ก็อาศัยความศรัทธา ความเชื่อถือ ความโปร่งใส  เงินทุกบาททุกสตางค์ ไม่ว่าจะเป็นค่าเปอร์เซ็นต์ ทุกคนต้องรู้และสามารถตรวจสอบได้ นำมาพัฒนาโรงเรียนในส่วนที่ทางราชการไม่ได้จัดสรรให้ เช่นค่าตะปู ค่าน้ำแข็ง ค่าฟิมส์ ค่าน้ำมันรถตัดหญ้าฯลฯที่เราใช้ทุกวัน แม้แต่ค่าน้ำมันรถพานักเรียนไปแข่งขันกีฬา ค่าอาหารไปตอบปัญหา เงินนอกเงินในสะอาด ตรวจสอบได้ สร้างความศรัทธา การบริจาคให้โรงเรียนก็มีมาอย่างสม่ำเสมอตลอดปีการศึกษา ไม่มีการเรี่ยไรครู หากจะมีบ้างก็เรื่องบุญกุศลเพราะถือว่าเป็นเรื่องส่วนตัว เป็นเรื่องศรัทธา ใครทำบุญก็ได้บุญได้กุศลไป
            2.งานธุรการ โรงเรียนใหญ่ขึ้น งานมากขึ้น การกระจายงานจึงมีความจำเป็น ครูทุกคนก็เรียนจบปริญญาตรี มีความรู้ความสามารถทุกคน งานแต่ละฝ่าย งานแต่ละคน ก็แจงให้ทัน แจงให้ตรงคน ตรงฝ่าย กำกับงานให้ส่งทันตามกำหนด งานเข้า งานออกให้ถูกสารบบ ตลอดทั้งงานเก็บก็ให้อยู่ในสภาพตรวจค้นได้
     3.งานพัสดุถึงเจ้าหน้าที่จะใหม่แต่ก็พยายามศึกษาจากทางสำนักงานการประถมศึกษาอำเภอยางชุมน้อย จากตำรา จากเจ้าหน้าที่เดิม งานจัดซื้อจัดจ้าง ยึดระเบียบแบบแผนของทางราชการเป็นสำคัญ เน้นความรวดเร็วทันตามกำหนดการส่งงาน โปร่งใส มีกรรมการซื้อ ตรวจทั้งจากภายในและภายนอก บอกทุกเรื่อง ของมาก็คือมา ของไม่มาก็ต้องมีใบค้าง
          5.งานอาคารสถานที่   
            1.งานอาคารสถานที่เป็นหน้าตาของโรงเรียน จะต้องเน้นความสวย ความงาม เป็นระเบียบเรียบร้อย และสามารถประกันความปลอดภัยได้ จัดให้มีแผนงานโครงการสอดคล้องกับสภาพปัจจุบันปัญหา
2.มีความพยายามที่จะแก้ปัญหาอากาศร้อนอบอ้าวในห้องเรียนและห้องอ นๆโดยการหาพัดลมชนิดมีใบหมุนติดเพดานได้จำนวน 10 ตัวดังนี้
                        1.นายอุดม       นามวงศ์           บริจาค 1 ตัว
                        2.นายซุนย้ง     แซ่เตียว           บริจาค 1 ตัว
                        3.นายอุดม       นามวงศ์และนางทองใบ แซ่เตียว,นายรณวัฒน์  สารพันธ์ นายสมเกียรติ นามวงษ์ นางพัชรินทร์ เหล่าโคตร นางสาวฉวีวรรณ เชาว์ชาญ นายเอกพงศ์ นามวงศ์ จำนวน 2 ตัว
                        4.นางปิยนารถ จำปาเรืองบริจาค 2ตัว
                        5.อนุสรณ์นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 บริจาค 2 ตัว
                        6.อนุสรณ์นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 บริจาค     2 ตัว        
3.องค์การบริหารส่วนตำบลยางชุมใหญ่ ให้งบประมาณจำนวน 25,0000บาท ให้โรงเรียนบ้านยางชุมใหญ่(สาขาบ้านดอนโก)1จำเป็นในการพัฒนาพื้นที่ต้องจ้างรถแทรคเตอร์
            4.ศิษย์เก่านำพัดลมมา บริจาคให้โรงเรียนจำนวน 20 ตัวและเงินสดจำนวน 2200บาท จะติดตั้งให้ครบทุกชั้นเรียนในช่วงเตรียมการก่อนเปิดเรียน
5.สร้างเสาธงใหม่ เนื่องจากเสาธงเก่ามีขนาดสั้นและอยู่ชิดตัวอาคารเรียนไม่สง่างาม การก่อสร้างใช้เงินงบประมาณจำนวน 20,000บาท
            6.ทำโต๊ะอาหารและม้านั่งสำหรับนักเรียน นั่งรับประทานอาหารกลางวันได้ 6 ชุด
7.ปรับปรุงหน้าจั่วศาลาปรำพิธีทั้ง 3  ด้านเพื่อกันแดดกันฝน
            8.ขุดบ่อลงท่อคอนกรีตจำนวน 8 ท่อ
          6.งานความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
            1.งานที่ลดปัญหาทุกปัญหาก็คือความร่วมกับชุมชน ลดปัญหาความขัดแย้งทั้งภายนอกและภายใน ตลอดทั้งได้รับการสนับสนุนช่วยเหลือจากชุมชนโรงเรียนถือว่าเป็นหัวใจหลักของโรงเรียนที่จำเป็นจะต้องดำเนินการทั้งเร่งด่วน และสม่ำเสมอจึงจัดให้มีแผนงานโครงการขึ้น
            2.ขอความร่วมมือจากกรรมการสถานศึกษาในการจัดทำโต๊ะอาหารและม้านั่งสำหรับนักเรียน นั่งรับประทานอาหารกลางวันได้ 6 ชุด คิดเป็นมูลค่าและได้นำผลงานนี่ไปแสดงนิทรรศการในวันประชุมกรรมการสถานศึกษาที่หอประชุมโรงเรียนยางชุมน้อย ซึ่งมีโรงเรียนเดียวที่มีผลงานของกรรมการสถานศึกษาไปแสดงและได้รับคำชมเชยจากหัวหน้าการประถมศึกษาอำเภอยางชุมน้อย ต่อที่ประชุมในวันนี้ด้วย
3.ขอความร่วมมือจากกรรมการสถานศึกษาในการปรับปรุงหน้าจั่วศาลาปรำพิธีทั้ง 3  ด้าน
เพื่อกันแดดกันฝน สาดส่อง ทำให้สะดวกในการจัดกิจกรรมต่างๆ
            4.จัดการแก้ปัญหาน้ำดื่มน้ำใช้ในโรงเรียน ซึ่งเดิมสูบน้ำบาดาลขึ้นมาใช้ทำให้มีปัญหา น้ำขุ่น เหลือง ตกตะกอนไม่สะอาดใช้ดื่ม  จึงประชุมกรรมการสถานศึกษาขอแรงงานในการขุดบ่อลงท่อคอนกรีตจำนวน 8 ท่อ เป็นการประหยัดค่าแรงงาน และได้ติดตั้งเครื่องสูบน้ำใช้อย่างสะดวก ทำให้โรงเรียนมีน้ำสะอาดบริโภคสำหรับครู นักเรียนและผู้มาเยี่ยมเยียน
            5.ให้ความร่วมมือกับชุมชนให้บริการโต๊ะเก้าอี้และอุปกรณ์อื่นๆ เพื่อให้มีการจัดงานทำบุญ และนำคณะครูไปช่วยงาน ร่วมรับประทานอาหารด้วยกันเป็นการประสานความสัมพันธ์กับชุมชนเป็นอย่างดี
            6.เมื่อมีงานศพในชุมชนโรงเรียนได้นำพวงหรีดไปเคารพศพโดยผู้บริหารเป็นผู้นำไปและจัดปัจจัยช่วยงาน ทุกครั้งพร้อมนำครูไปเป็นพิธีกรและช่วยเหลือในการจัดพิธีการฌาปนกิจศพอย่างสมบูรณ์
            7.เข้าร่วมประชุมกับ องค์การบริหารส่วนตำบลทุกครั้งที่ได้รับเชิญ เพื่อเสนอปัญหาของโรงเรียนและของบประมาณจาก องค์การบริหารส่วนตำบลเพื่อแก้ปัญหาในภารกิจที่จำเป็น
            8.ติดต่อประสานงานกับองค์การบริหารส่วนตำบลยางชุมใหญ่ และได้รับความอนุเคราะห์งบประมาณจำนวน 25,0000บาท ในส่วนที่ได้จัดให้โรงเรียนบ้านยางชุมใหญ่ 10,000บาท และจัดให้โรงเรียนบ้านยางชุมใหญ่(สาขาบ้านดอนโก)15,000บาท เนื่องจากโรงเรียนสาขามีความจำเป็นในการพัฒนาพื้นที่ต้องจ้างรถแทรคเตอร์
            9.จัดสรรเสธงใหม่ เนื่องจากเสาธงเก่ามีขนาดสั้นและอยู่ชิดตัวอาคารเรียนไม่สง่างาม การก่อสร้างใช้เงินงบประมาณจำนวน 20,000บาท ซึ่งเป็นเงินที่ได้จากองค์การบริหารส่วนตำบลยางชุมใหญ่จำนวน 10,000บาท และเงินสะสมของโรงเรียนจำนวน 10,000บาท การก่อสร้างเป็นที่เรียบร้อยสูงสง่าสวยงาม
            10.เมื่อวันที่10  เมษายน 2544 ได้รับความอนุเคราะห์จากศิษย์เก่าที่ประกอบอาชีพรับราชการตำรวจ ครูและเกษตรกร นำพัดลมมา บริจาคให้โรงเรียนจำนวน 20 ตัวและเงินสดจำนวน 2200บาท จะติดตั้งให้ครบทุกชั้นเรียนในช่วงเตรียมการก่อนเปิดเรียน
            11.เมื่อวันที่ 13 เมษายน 2544 โรงเรียนได้ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลยางชุมใหญ่ และสถานีอนามัยบ้านยางชุมใหญ่ จัดงานสงกรานต์ที่วัดบ้านยางชุมใหญ่ โดยจัดให้มีการทำบุญตักบาตรรดน้ำขอพรจากผู้สูงอายุ แห่นางสงกรานต์รอบหมู่บ้านและประกวดนางสงกรานต์คณะครูเข้าร่วมเป็นกรรมการและประสานงานตลอดรายการ
3.คุณภาพงาน
            1.คุณภาพของงานด้านวิชาการ
                   1.1ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นทุกชั้นเรียน ดังรายละเอียดเปรียบเทียบดังนี้
                        1.2ทุกชั้นเรียนไม่มีนักเรียนออกกลางคัน
                        1.3นักเรียนชนะเลิศการแข่งขันทางวิชาการในรอบปีดังนี้
          1.งานด้านวิชาการ
            1.โรงเรียนทำงานอย่างมีทิศทางมีแผนงานโครงการและการปฏิบัติตามโครงการ90%
            2.หลักสูตรคือแม่บทในการจัดการเรียนการสอนเป็นหลักที่ครูทุกคนจะต้องยึดได้กำกับนิเทศติดตามประเมินผล ได้ผล 80%
            3.ทุกชั้นเรียนจัดทำเอกสารประจำชั้นถูกต้องและเป็นปัจจุบัน รายงานทันกำหนด100%
            4.นักเรียนมีความภาคภูมิใจมากถือว่าครั้งหนึ่งในชีวิตได้ร่วมกิจกรรมทางวิชาการ ได้รับการยอมรับจากสังคม เห็นคุณค่าของตนเอง90%
            5.จัดให้มีการสอนซ่อมเสริมเด็กที่เรียนช้า ซึ่งเด็กเองก็ภูมิที่ครูโรงเรียนไม่ทอดทิ้ง ยังมีความสำคัญ เด็กอ่านออกมากขึ้นประมาณ 70%ของเด็กที่เคยอ่านไม่ออก
            6.ส่งเสริมการใช้ห้องปฏิบัติการครั้งหนึ่งในชีวิตที่เด็กได้สัมผัสคอมพิวเตอร์ มันเป็นความประทับในเพราะทั้งโรงเรียนมีอยู่เครื่องเดียว เด็กชั้น ป.6และชั้น ม.3 ได้สัมผัส 100%
7.ผู้บริหารเข้าเยี่ยมชั้นเรียนและให้การนิเทศเดือนละ 2 ครั้ง หรืออย่างน้อย  1ครั้ง เพื่อเป็นการตรวจสอบการปฏิบัติงานของครู  ครูมีขวัญกำลังใจในการทำงาน ผู้บริหารและครู่ร่วมกันแก้ปัญหานักเรียนถึงรายคนได้ผล 80%
            8.จัดให้มีกิจกรรมภาษาไทยวันละคำทุกชั้นเรียน ทุกเช้าหน้าเสาธงโดยครูฝ่ายวิชาการกำกับดูแล จัดให้มีกรรมการนักเรียนดำเนินการทางเครื่องขยายเสียงเป็นประจำเด็กมีความรู้ภาษาไทยมากขึ้นอย่างน้อยก็จำคำเพิ่มขึ้นอีก 200 คำต่อปี
            9.จัดให้มีการตอบปัญหาทางวิชาการทุกวันศุกร์ในตอนประชุมหลักงสวดมนต์ไหว้พระเสร็จแล้ว โดยครูฝ่ายวิชาการเป็นผู้ดำเนินการ มีการมอบรางวัลแก่นักเรียนที่จะตอบปัญหาทุกสัปดาห์เด็กมีความสนุกกับปัญหาเหมือนเกมส์เศรษฐี ทำให้เด็กชอบค้นคว้ามากขึ้น 70%
            10.ได้ไปเยี่ยมและนิเทศการเรียนการสอนที่โรงเรียนสาขาดอนโกเป็นประจำทุกเดือนอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อรับทราบปัญหาและให้ความช่วยเหลือในการบริหารและช่วยแก้ปัยหาต่างๆที่มีขึ้น ถึงจะเป็นโรงเรียนสาขาแต่โรงเรียนไม่ทอดทิ้งให้ความสำคัญเท่ากัน ครูมีขวัญกำลังใจในการทำงาน มาปฏิบัติหน้าที่อย่างสม่ำเสมอ100%

            2.งานบริหารบุคคลงานให้ขวัญกำลังใจแก่บุคลากร

            1.จัดให้มีการจัดกรอกแบบสำรวจคุณวุฒิ ความสามารถ ความต้องการของบุคลากร ตลอดทั้งประสบการณ์ในการทำงาน เพื่อให้การป้อนคนให้ตรงกับงานความรู้ความสามารถและความต้องการ ตลอดทั้งจัดให้มีการประชุมปรึกษาหารือในส่วนที่ต้องแก้ปัญหา เช่นการจัดชั้นเรียนอย่างยุติธรรม ใช้หลักประชาธิปไตย
            2.จัดให้มีการประชุมอบรมสัมมนาทางวิชาการงานในหน้าที่ ทั้งที่เป็นหน่วยงานอื่นจัดหรือโรงเรียนจัดเอง เพื่อพัฒนาบุคลากรให้พร้อมกับการปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ
            3.การมอบหมายงานจัดให้มีแผนผังสายงานที่ชัดเจน  ออกคำสั่งมอบหมายงานให้ทุกคนมองเห็นภาพงาน หน้าที่รับผิดชอบ หน้าที่จุดประสาน จุดบังคับบัญชาที่ชัดเจน ทำให้การทำงานมีคุณภาพ
            4.งานขวัญกำลังใจเป็นเรื่องที่โรงเรียนให้ความสำคัญเป็นพิเศษ เพราะเมื่อคนมีกำลังใจแล้วงานทุกอย่าง ปัญหาอุปสรรคก็ย่อมแก้ไขได้
5.จัดให้มีการประชุมครูในโรงเรียนเดือนละ 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 หลังจากประชุมคณะกรรมการกลุ่มไม่เกิน 3 วัน ครั้งที่ 2 หลักจากประชุมผู้บริหารประจำเดือนมาแล้วไม่เกิน 3 วัน
6.เมื่อต้นปีการศึกษา 2543 ได้นำคณะครูในโรงเรียนไปแสดงความยินดีต่ออาจารย์พัชรินทร์เหล่าโคตร อาจารย์ 2 ระดับ 5 โรงเรียนบ้านยางชุมใหญ่ในโอกาสที่คลอดบุตรได้สมาชิกคนใหม่ โดยคณะครูร่วมกันซื้อของขวัญมูลค่า 500 บาทไปมอบให้ และผูกแขนตามประเพณี
7.ในช่วงเดือนสิงหาคม 2543 น้ำท่วมบ้านพักของอาจารย์ทองอยู่  ด้วงโพนทัน และอาจารย์บันชิน  ด้วงโพนทัน ที่หมู่บ้านกุลวดีศรีสะเกษ ได้นำคณะครูไปช่วยขนสิ่งของหนีภัยน้ำท่วมและปลอบใจแก่ผู้ประสบภัย หลังจากน้ำลดได้นำคณะครูไปร่วมให้ขวัญกำลังใจ โดยคณะครูช่วยกันเสียสละเงินจำนวน 3000บาท มอบให้แก่ครอบครัวของอาจารย์ทองอยู่ ด้วงโพนทัน และร่วมรับประทานอาหารอย่างมีความสุข
8.ในโอกาสที่บุคลากรในโรงเรียนได้รับการเลื่อนตำแหน่งสูงขึ้น จำนวน 5 คน คือนายไพฑูรย์ นามวงษ์ นายทองอยู่  ด้วงโพนทัน นางบันชิน  ด้วงโพนทัน นางปิยนารถ จำปาเรืองและนางสาวฉวีวรรณ เชาว์ชาญ ผู้บริหารได้จัดหาอินทนูมอบให้ทุกคนและทำพิธีประดับในโอกาสวันประชุมประจำเดือน มูลค่าอินธนูจำนวน 1350 บาท
9.การรายงานผล การประเมินผล การจัดทำแฟ้มสะสมงาน บุคลากรให้ความร่วมมือ และมีความพร้อมที่จะทำแบบรายงานที่ตรงกับการพัฒนาตน พัฒนางาน อย่างเต็มที่ ทุกคน
3.งานกิจการนักเรียน
1.นักเรียนคือบุคคลที่สำคัญที่สุด การพัฒนานักเรียนจะครบทุกสัดส่วน ทั้งสมอง ร่างกาย อารมณ์ สังคมได้ จำเป็นจะต้องมีกิจกรรมที่หลายหลายและทุกคนมีโอกาสเข้าร่วม โรงเรียนจัดให้มีแผนงานโครงการของฝ่ายกิจการนักเรียน
2.งานกีฬานักเรียนโรงเรียนได้ส่งเสริมสนับสนุนเป็นพิเศษ ส่งนักเรียนเข้าแข่งขันกีฬาจังหวัดศรีสะเกษ เมื่อต้นปีการศึกษา 2543 ได้เข้าถึงรอบชิงชนะเลิศตะกร้อชายอายุไม่เกิน12ปี การแข่งขันกีฬาภายในโรงเรียน นักเรียนมีโอกาสร่วมกิจกรรมทุกคน การแข่งขันกีฬากลุ่มที่โรงเรียนบ้านโนนโรงเรียนบ้านยางชุมใหญ่ได้คะแนนรวมสูงสุดของกลุ่ม และคัดเลือกนักกีฬาระดับอำเภอเข้าแข่งขันที่จังหวัดก็มีนักกีฬาเข้าร่วมมากที่สุด และมีโอกาสได้ชนะเลิศตะกร้อหญิงมัธยม เป็นที่ภาคภูมิใจของชาวอำเภอยางชุมน้อย
3.งานส่งเสริมความเป็นเลิศ งานมหกรรมวันประถม ทุกรายการ ทุกระดับชั้น ภายในโรงเรียน ในระดับอำเภอ  และระดับจังหวัด โรงเรียนบ้านยางชุมใหญ่ได้นำนักเรียนเข้าร่วมและมีกิจกรรมมากที่สุด งานวาดภาพ งานปั้น งานพิมพ์ดีด งานคอมพิวเตอร์ ยอดนักพูด ทั้งระดับอนุบาล ประถม และมัธยม
            4..จัดให้มีคณะกรรมการนักเรียนตรวจสอบกิจกรรมหน้าเสาธงตอนเช้าของนักเรียนในส่วนที่ได้รับมอบหมาย เช่น ด้านความสะอาดบริเวณ ด้านระเบียบวินัย ด้านสุขภาพอนามัยเป็นต้น แล้วรายงานหน้าเสาธงว่าปฏิบัติหรือไม่ อย่างไร
            5.งานส่งเสริมด้านจริยธรรม  อบรมระเบียบวินัย ความรับผิดชอบ การเรียน ความสะอาด ทุกวันศุกร์  ส่งนักเรียนร่วมตอบปัญหาธรรม  ได้ติดอันดับทั้งระดับประเทศและระดับอำเภอ  นักเรียนเน้นให้พูดคำสุภาพ  แต่งกายให้สะอาด
            4.งานธุรการการเงินและพัสดุ
          1.งานคู่กับเงิน เงินไม่มางานก็ไม่เดิน เงินจะมีได้ก็อาศัยความศรัทธา ความเชื่อถือ ความโปร่งใส  เงินทุกบาททุกสตางค์ ไม่ว่าจะเป็นค่าเปอร์เซ็นต์ ทุกคนต้องรู้และสามารถตรวจสอบได้ นำมาพัฒนาโรงเรียนในส่วนที่ทางราชการไม่ได้จัดสรรให้ เช่นค่าตะปู ค่าน้ำแข็ง ค่าฟิมส์ ค่าน้ำมันรถตัดหญ้าฯลฯที่เราใช้ทุกวัน แม้แต่ค่าน้ำมันรถพานักเรียนไปแข่งขันกีฬา ค่าอาหารไปตอบปัญหา เงินนอกเงินในสะอาด ตรวจสอบได้ สร้างความศรัทธา การบริจาคให้โรงเรียนก็มีมาอย่างสม่ำเสมอตลอดปีการศึกษา ไม่มีการเรี่ยไรครู หากจะมีบ้างก็เรื่องบุญกุศลเพราะถือว่าเป็นเรื่องส่วนตัว เป็นเรื่องศรัทธา ใครทำบุญก็ได้บุญได้กุศลไป
            2.งานธุรการ โรงเรียนใหญ่ขึ้น งานมากขึ้น การกระจายงานจึงมีความจำเป็น ครูทุกคนก็เรียนจบปริญญาตรี มีความรู้ความสามารถทุกคน งานแต่ละฝ่าย งานแต่ละคน ก็แจงให้ทัน แจงให้ตรงคน ตรงฝ่าย กำกับงานให้ส่งทันตามกำหนด งานเข้า งานออกให้ถูกสารบบ ตลอดทั้งงานเก็บก็ให้อยู่ในสภาพตรวจค้นได้
            3.งานพัสดุถึงเจ้าหน้าที่จะใหม่แต่ก็พยายามศึกษาจากทางสำนักงานการประถมศึกษาอำเภอยางชุมน้อย จากตำรา จากเจ้าหน้าที่เดิม งานจัดซื้อจัดจ้าง ยึดระเบียบแบบแผนของทางราชการเป็นสำคัญ เน้นความรวดเร็วทันตามกำหนดการส่งงาน โปร่งใส มีกรรมการซื้อ ตรวจทั้งจากภายในและภายนอก บอกทุกเรื่อง ของมาก็คือมา ของไม่มาก็ต้องมีใบค้าง
          5.งานอาคารสถานที่   
            1.งานอาคารสถานที่เป็นหน้าตาของโรงเรียน จะต้องเน้นความสวย ความงาม เป็นระเบียบเรียบร้อย และสามารถประกันความปลอดภัยได้ จัดให้มีแผนงานโครงการสอดคล้องกับสภาพปัจจุบันปัญหา
2.มีความพยายามที่จะแก้ปัญหาอากาศร้อนอบอ้าวในห้องเรียนและห้องอ นๆโดยการหาพัดลมชนิดมีใบหมุนติดเพดานได้จำนวน 10 ตัวดังนี้
                        1.นายอุดม       นามวงศ์           บริจาค 1 ตัว
                        2.นายซุนย้ง     แซ่เตียว           บริจาค 1 ตัว
                        3.นายอุดม       นามวงศ์และนางทองใบ แซ่เตียว,นายรณวัฒน์  สารพันธ์ นายสมเกียรติ นามวงษ์ นางพัชรินทร์ เหล่าโคตร นางสาวฉวีวรรณ เชาว์ชาญ นายเอกพงศ์ นามวงศ์ จำนวน 2 ตัว
                        4.นางปิยนารถ จำปาเรืองบริจาค 2ตัว
                        5.อนุสรณ์นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 บริจาค 2 ตัว
                        6.อนุสรณ์นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 บริจาค     2 ตัว        
3.องค์การบริหารส่วนตำบลยางชุมใหญ่ ให้งบประมาณจำนวน 25,0000บาท ให้โรงเรียนบ้านยางชุมใหญ่(สาขาบ้านดอนโก)1จำเป็นในการพัฒนาพื้นที่ต้องจ้างรถแทรคเตอร์
            4.ศิษย์เก่านำพัดลมมา บริจาคให้โรงเรียนจำนวน 20 ตัวและเงินสดจำนวน 2200บาท จะติดตั้งให้ครบทุกชั้นเรียนในช่วงเตรียมการก่อนเปิดเรียน
5.สร้างเสาธงใหม่ เนื่องจากเสาธงเก่ามีขนาดสั้นและอยู่ชิดตัวอาคารเรียนไม่สง่างาม การก่อสร้างใช้เงินงบประมาณจำนวน 20,000บาท
            6.ทำโต๊ะอาหารและม้านั่งสำหรับนักเรียน นั่งรับประทานอาหารกลางวันได้ 6 ชุด
7.ปรับปรุงหน้าจั่วศาลาปรำพิธีทั้ง 3  ด้านเพื่อกันแดดกันฝน
            8.ขุดบ่อลงท่อคอนกรีตจำนวน 8 ท่อ
          6.งานความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
            1.งานที่ลดปัญหาทุกปัญหาก็คือความร่วมกับชุมชน ลดปัญหาความขัดแย้งทั้งภายนอกและภายใน ตลอดทั้งได้รับการสนับสนุนช่วยเหลือจากชุมชนโรงเรียนถือว่าเป็นหัวใจหลักของโรงเรียนที่จำเป็นจะต้องดำเนินการทั้งเร่งด่วน และสม่ำเสมอจึงจัดให้มีแผนงานโครงการขึ้น
            2.ขอความร่วมมือจากกรรมการสถานศึกษาในการจัดทำโต๊ะอาหารและม้านั่งสำหรับนักเรียน นั่งรับประทานอาหารกลางวันได้ 6 ชุด คิดเป็นมูลค่าและได้นำผลงานนี่ไปแสดงนิทรรศการในวันประชุมกรรมการสถานศึกษาที่หอประชุมโรงเรียนยางชุมน้อย ซึ่งมีโรงเรียนเดียวที่มีผลงานของกรรมการสถานศึกษาไปแสดงและได้รับคำชมเชยจากหัวหน้าการประถมศึกษาอำเภอยางชุมน้อย ต่อที่ประชุมในวันนี้ด้วย
3.ขอความร่วมมือจากกรรมการสถานศึกษาในการปรับปรุงหน้าจั่วศาลาปรำพิธีทั้ง 3  ด้าน
เพื่อกันแดดกันฝน สาดส่อง ทำให้สะดวกในการจัดกิจกรรมต่างๆ
            4.จัดการแก้ปัญหาน้ำดื่มน้ำใช้ในโรงเรียน ซึ่งเดิมสูบน้ำบาดาลขึ้นมาใช้ทำให้มีปัญหา น้ำขุ่น เหลือง ตกตะกอนไม่สะอาดใช้ดื่ม  จึงประชุมกรรมการสถานศึกษาขอแรงงานในการขุดบ่อลงท่อคอนกรีตจำนวน 8 ท่อ เป็นการประหยัดค่าแรงงาน และได้ติดตั้งเครื่องสูบน้ำใช้อย่างสะดวก ทำให้โรงเรียนมีน้ำสะอาดบริโภคสำหรับครู นักเรียนและผู้มาเยี่ยมเยียน
            5.ให้ความร่วมมือกับชุมชนให้บริการโต๊ะเก้าอี้และอุปกรณ์อื่นๆ เพื่อให้มีการจัดงานทำบุญ และนำคณะครูไปช่วยงาน ร่วมรับประทานอาหารด้วยกันเป็นการประสานความสัมพันธ์กับชุมชนเป็นอย่างดี
            6.เมื่อมีงานศพในชุมชนโรงเรียนได้นำพวงหรีดไปเคารพศพโดยผู้บริหารเป็นผู้นำไปและจัดปัจจัยช่วยงาน ทุกครั้งพร้อมนำครูไปเป็นพิธีกรและช่วยเหลือในการจัดพิธีการฌาปนกิจศพอย่างสมบูรณ์
            7.เข้าร่วมประชุมกับ องค์การบริหารส่วนตำบลทุกครั้งที่ได้รับเชิญ เพื่อเสนอปัญหาของโรงเรียนและของบประมาณจาก องค์การบริหารส่วนตำบลเพื่อแก้ปัญหาในภารกิจที่จำเป็น
            8.ติดต่อประสานงานกับองค์การบริหารส่วนตำบลยางชุมใหญ่ และได้รับความอนุเคราะห์งบประมาณจำนวน 25,0000บาท ในส่วนที่ได้จัดให้โรงเรียนบ้านยางชุมใหญ่ 10,000บาท และจัดให้โรงเรียนบ้านยางชุมใหญ่(สาขาบ้านดอนโก)15,000บาท เนื่องจากโรงเรียนสาขามีความจำเป็นในการพัฒนาพื้นที่ต้องจ้างรถแทรคเตอร์
            9.จัดสรรเสธงใหม่ เนื่องจากเสาธงเก่ามีขนาดสั้นและอยู่ชิดตัวอาคารเรียนไม่สง่างาม การก่อสร้างใช้เงินงบประมาณจำนวน 20,000บาท ซึ่งเป็นเงินที่ได้จากองค์การบริหารส่วนตำบลยางชุมใหญ่จำนวน 10,000บาท และเงินสะสมของโรงเรียนจำนวน 10,000บาท การก่อสร้างเป็นที่เรียบร้อยสูงสง่าสวยงาม
            10.เมื่อวันที่10  เมษายน 2544 ได้รับความอนุเคราะห์จากศิษย์เก่าที่ประกอบอาชีพรับราชการตำรวจ ครูและเกษตรกร นำพัดลมมา บริจาคให้โรงเรียนจำนวน 20 ตัวและเงินสดจำนวน 2200บาท จะติดตั้งให้ครบทุกชั้นเรียนในช่วงเตรียมการก่อนเปิดเรียน
            11.เมื่อวันที่ 13 เมษายน 2544 โรงเรียนได้ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลยางชุมใหญ่ และสถานีอนามัยบ้านยางชุมใหญ่ จัดงานสงกรานต์ที่วัดบ้านยางชุมใหญ่ โดยจัดให้มีการทำบุญตักบาตรรดน้ำขอพรจากผู้สูงอายุ แห่นางสงกรานต์รอบหมู่บ้านและประกวดนางสงกรานต์คณะครูเข้าร่วมเป็นกรรมการและประสานงานตลอดรายการ

4.วินัยและการรักษาวินัย

            1.ประพฤติปฏิบัติตนอยู่ในกรอบของระเบียบทางราชการอย่างเคร่งครัดตลอดระยะเวลาที่ปฏิบัติราชการมาไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยแต่อย่างใด
            2.ลด ละเลิกอบายมุข เช่น สุรา บุหรี่ การพนัน  เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีแก่บุคลากรในโรงเรียน
            3.ในการประชุมครูบุคลากรในโรงเรียนจะเน้นย้ำเรื่องการรักษาวินัยข้าราชการอยู่เสมอและยกกรณีตัวอย่างให้ฟังอย่างชัดเจน

5.ความอุตสาหะ

            1.มีความตั้งใจจริงและเอาใจใส่ต่อหน้าที่ราชการอย่างสม่ำเสมอโดยปฏิบัติหน้าที่ก่อนเวลา 07.45 น และกลับหลังจากเวลา 16.30
            2.ในรอบ 7ปีที่ผ่านมาไม่เคยลาหยุดราชการ
            3.อุทิศตนและเวลาเพื่องานราชการและไม่เคยเอาเปรียบราชการเพื่อประโยชน์ส่วนตน
            4.ปฏิบัติงานสนองนโยบายของราชการทุกอย่างเสมอมา

6.ความรู้ความสามารถในการปฏิบัติราชการพิเศษ

งานแก้ปัญหา

            ในช่วงที่ย้ายมาดำรงตำแหน่งผู้บริหารโรงเรียนบ้านยางชุมใหญ่ช่วงแรกได้สำรวจสภาพปัญหาที่สำคัญซึ่งเป็นอุปสรรคในการเรียนการสอนพบว่ามีปัญหาสำคัญที่จะต้องเร่งแก้ไขอยู่5ประการคือ
            1.ฤดูฝนน้ำขังห้องอนุบาล 3 ห้องเรียนเนื่องจากพื้นห้องต่ำ
            2.สนามเด็กเล่นหน้าอาคารอนุบาลต่ำมากฤดูฝนน้ำท่วมขัง
            3.พื้นที่การเกษตรโรงเรียนฤดูฝน น้ำท่วมขังไม่สามารถเพาะปลูกได้
            4.พื้นห้องน้ำต่ำมาก ฤดูฝนน้ำท่วมขังไม่สะดวกในการใช้
            5.หลังคาอาคารอนุบาลรั่ว เมื่อฝนตกจะมีปัญหามาโดยตลอด เมื่อทราบปัญหาดังกล่าว จึงได้คิดวางแผนแก้ปัญหา และได้ดำเนินการดังนี้
                        1.ประชุมครูในโรงเรียน ประชุมกรรมการสถานศึกษา เพื่อหาแนวทางและวิธีการในการแก้ปัญหา ที่ประชุมเห็นชอบในการพิมพ์ซองขอรับบริจาคในชุมชนโดยไม่ต้องจัดงาน
                        2.จัดแต่งตั้งกรรมการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ
                        3.ผู้บริหารประชาสัมพันธ์ทางหอกระจายข่าวขอความร่วมมือจากชาวบ้านทุกครัวเรือน
                        4.ได้รับความอนุเคราะห์ความร่วมมือจากประชาชน คณะครู ในตำบลยางชุมใหญ่รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 43000บาท(สี่หมื่นสามพันบาท)        
                        5.นำเงินจำนวนดังกล่าวมาดำเนินการแก้ปัญหา 5 ประการข้างต้น จนสำเร็จเรียบร้อยเป็นที่ปรากฏและโรงเรียนได้รายงาน สำนักงานการประถมศึกษาอำเภอยางชุมน้อยเมื่อต้นปีการศึกษา 2543

 

งานให้ขวัญกำลังใจบุคลากรข้อ 3ข้อ ข้อ 7,11,12,13,17

ผลงานดีเด่น

1)ด้านนักเรียน ข้อ 2,3,4,5

            -ประชาสัมพันธ์ทางหอกระจายข่าวในหมู่บ้านเชิญชวนให้อนุญาตบุตรหลาน บวชในโครงการอุปสมบทภาคฤดูร้อน ได้อธิบายข้อดีของการบวชจนมีนักเรียนโรงเรียนบ้านยางชุมใหญ่บวชในโครงการถึง 23 รูป และโรงเรียนนำรถบริการรับและส่งทั้งในวันบวชและวันสึก
            -นำนักเรียนเข้าร่วมแข่งขันกีฬาในงานมหกรรมศิลปะ ดนตรี กีฬา วิชาการ งานอาชีพที่ศรีสะเกษ ได้รางวัลชนะเลิศของจังหวัดศรีสะเกษ ในกีฬาตะกร้อหญิงระดับ มัธยมต้น และกีฬาปิงปองหญิงมัธยมต้น และวิ่ง 50 เมตรคนพิการ
            -นำนักเรียนแข่งขันตอบปัญหาธรรมสากลระดับประเทศ เด็กหญิงภัทรา นามวงษ์ ได้ชมเชย อันดับ1 ได้เงินสด 500 บาท และรางวัลชมเชยรองลงมาอีก 5 คน
            -นำนักเรียนชั้น ป 6 เข้าสอบแข่งขันชิงทุนการศึกษาของ ผ..ทิวา รุ้งแก้ ผ..นิรักษ์ สีหะวงษ์ และ ก...สนองสีหะวงษ์ ได้อันดับที่ 4 ได้เงินรางวัล 500 บาท คือเด็กหญิงบุษยา สีหะวงษ์
            -นำนักเรียนระดับประถมศึกษาเข้าแข่งขันตอบปัญหาทางวิชาการที่โรงเรียนบ้านลิ้นฟ้าในวันสุนทรภู่ ได้รางวัลอันดับที่ 1 ในการเรียงความ
            -นำนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 16 คน เข้ารับการอบรมธรรมที่วัดโพธิ์น้อย อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ ได้ผลดีมาก หลังจากอบรมแล้วนักเรียนมีความประพฤติ มีสัมมาคารวะ อ่อนน้อมถ่อมตน ให้ความเคารพและเชื่อฟังครูนับว่านักเรียนมีพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงในทาวงที่ดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด
            -ผู้บริหารให้โอวาทและให้การอบรมนักเรียนหน้าเสาธงสัปดาห์ละ 2 วันคือวันจันทร์ และวันพุธในวันศุกร์จะนำนักเรียนเข้าห่องประชุมสวดมนไหว้พระและให้การอบรมโดยเน้นการเอาใจใส่ต่อการเรียน ความประพฤติ ความปลอดภัย และอบายมุขต่างๆ ทำให้นักเรียนมีความประพฤติดี สุภาพอ่อนน้อม ให้ความเคารพและเชื่อฟังครูดีขึ้น
                        13 เมษายน 2544 ได้ร่วมกับคณะศิษย์เก่าจัดหาพัดลมให้โรงเรียน
รายงานการจัดหาพัดลมของโรงเรียนบ้านยางชุมใหญ่ ปี2544

ลำดับที่
ยศ
ชื่อ
สกุล
บริจาคพัดลม
บริจาคเงิน

1
จ.ส.ต.
ทศพล
นามวงษ์
1ตัว



2
คุณหมอ
บุญมา
นามวงษ์
1ตัว



3
คุณหมอ
สุวรรณ
วะรงค์
1ตัว



4
เภสัชกร
ปริญญา
นามวงษ์
1ตัว



5
ส.อ.
ชัว+บุษบา
ขันคำ
1ตัว



6
นส.
ยุพาภรณ์
นามวงษ์
1ตัว



7
อาจารย์
อดิศร
นามวงษ์

500
บาท

8
อาจารย์
ปริญญา
นามวงษ์

100
บาท

9
อาจารย์
บุญจันทร์+สุรินนา
ภูดี

500
บาท

10
เภสัชกร
สมชาย
ชาลี

1000
บาท

11
หมอลำ
ทองเหล็ง
นามวงษ์

100
บาท

12
อาจารย์
จำปา
สมใจ

100
บาท

13
จ.ส.ต.
อรรณพ
มณีวงษ์

500
บาท

14
จ.ส.ต.
สมควร+จิณรงค์
อำไพ

1000
บาท

15
จ.ส.ต.
ปัญญา
โพธิ์ขำ

300
บาท

16
ส.ต.ท.
ทรงศักดิ์
นามวงษ์

500
บาท

17
ส.ต.ต.
ณฐพงค์
นามวงษ์

500
บาท

18
ส.ต.ท.
วีระศักดิ์
ศรีคำ

500
บาท

19
ส.ต.ท.
สุรัตน์
ทองสุ

600
บาท

20
ส.ต.ต.
ธงชัย
ขันคำ

500
บาท

21
นาย
สมคิด
สมใจ

200
บาท

22
นาย
บรรจง
จันทศิลา

500
บาท

23
นาย
เทียนชัย
นามวงษ์

200
บาท

24
นาย
บัญชา
นามวงษ์

200
บาท

25
อาจารย์
ไพบูลย์
นามวงษ์

500
บาท

26
อาจารย์
ศุภชัย
นามวงษ์

500
บาท

27
อาจารย์
สมศักดิ์
ขันคำ

300
บาท

28
คุณหมอ
รุ่งเพชร
ทัดเทียม

200
บาท

29
น.ส
นิตยา
นามวงษ์

500
บาท

30
นาย
ทองสี
นามวงษ์

100
บาท

31
นาย
ประมวล
โตมร

100
บาท

32
นาย
อรุณ
ขันคำ

100
บาท

33
นาย
ทวี
นามวงษ์

100
บาท

34
นาย
วิมาน
ขันคำ

50
บาท

35
น.ส
มะณี
ขันคำ

100
บาท

36
นาง
พิสมัย
นามวงษ์

100
บาท

37
นาย
นารี
นามวงษ์

100
บาท

38
นาย
อุดม
นามวงษ์

200
บาท

39
นาย
วิชัย
ประชาราษฎร์
100
บาท

40
นาง
จันทร์เพ็ญ(ซิม)
นามวงษ์

100
บาท

41
นาง
พนา
นามวงษ์

100
บาท

42
นาง
จันทร์เพ็ญ
นามวงษ์

50
บาท

43
นส.
นวลจันทร์
ขันคำ

100
บาท

44
นาง
นงลักษณ์
นามวงษ์

100
บาท

45
นาง
บัวพัน
แก้วพวง

100
บาท

46
นาย
สุมิตร
สีหะวงษ์

50
บาท

47
นาง
วิไล
นามวงษ์

80
บาท

48
นาง
รัตนวรรณ
แสนทวีสุข

250
บาท

49
นางสาว
ศรีวิไล
นามวงษ์

250
บาท

50
บุญบั้งไฟ 5 พ.ค.44                       คุณจันทร์เพ็ญ  นามวงษ์+ไพโรจน์มะณู พัดลม 1 ตัวและทีมงานกรุงเทพ


51
คุณ
ณฐพงค์(วันทา)
มะณู+คุณสุพรรณ



52
คุณ
อี๋(วันทา)+ใจสวรรค์ นามวงษ์





53
คุณ
นิตยา+คุณบูชา  บุษบงก์และทีมงานระยอง




54
             และคุณลำพูน   มะณู   พัดลม     1 ตัว

55
อาจารย์
ซุนย้ง
แซ่เตียว
บริจาค1 ตัว

56
อจญ.
อุดม
นามวงษ์
บริจาค 1 ตัว

57
นักเรียน ชั้น ป6
บริจาคเป็นอนุสรณ์ 2 ตัว

58
อาจารย์ปิยะนารถ  จำปาเรืองบริจาค   2 ตัว

59
นายอุดม
นามวงศ์และนางทองใบ แซ่เตียว,นายรณวัฒน์  สารพันธ์ นายสมเกียรติ นามวงษ์ นางพัชรินทร์ เหล่าโคตร นางสาวฉวีวรรณ เชาว์ชาญ นายเอกพงศ์ นามวงศ์ จำนวน 2 ตัว
60
อนุสรณ์นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 บริจาค     2 ตัว


               ในปี พ.ศ.2544 ได้มีการสร้างเสาธงมูลค่า 20,000บาท

                        วันที่ 13 เมษายน 2545 ได้รับการสนับสนุนผ้าป่าเพื่อการศึกษาโดยมีรายรับดังนี้
รายรับ
ลำดับที่
สายที่แจ้งยอด
 จำนวนเงิน
รอรับ
รวมแต่ละสาย
1
นายอุดม นามวงศ์

    5,000.00


2
ผช.นิพนธ์ นามวงศ์

    2,000.00


3
นางพิกุล นามวงศ์

    1,000.00


4
นายสุรชาติ บุญเสนอ

    2,000.00


5
นางทองใบ แซ่เตียว

    1,500.00


6
นายซุนย้ง แซ่เตียว

    1,500.00


7
นายนิรันดร สมทิพย์

       500.00


8
นายพีระพล เชาว์ชอบ รวมกับญาติ
       6,138.00



9
นายรณวัฒน์ สารพันธุ์

    1,000.00


10
นายปริญญา นามวงศ์

    1,000.00


11
นางสุพิศ นามวงศ์

    1,000.00


12
นายจำปา คำแผ่น




13
นายไพฑูรย์ นามวงษ์

    1,000.00


14
นายสมเกียรติ นามวงษ์

    1,000.00


15
นางบันชิน ด้วงโพนทัน

    1,000.00


16
นางบานเย็น นามวงษ์

       500.00


17
นายทองอยู่ ด้วงโพนทัน

    1,000.00


18
ส.ต.ท.มนัสชัย คำเคน

       500.00


19
น.ส.ฉวีวรรณ เชาว์ชาญ




20
นางพัชรินทร์ เหล่าโคตร

       500.00


21
ประชาชนหมู่ที่ 1เงินสด
       3,420.00
ข้าวจ้าว
414
กก



ข้าวเหนียว
56
กก
22
ประชาชนหมู่ที่ 2เงินสด
       3,390.00
ข้าวจ้าว
650
กก



ข้าวเหนียว
100
กก
23
ประชาชนหมู่ที่ 3เงินสด
       3,985.00
ข้าวจ้าว
1150
กก



ข้าวเหนียว
138
กก
24
ประชาชนหมู่ที่ 4เงินสด
          550.00
ข้าวจ้าว
0
กก



ข้าวเหนียว
0
กก
25
ประชาชนหมู่ที่ 5เงินสด
       5,675.00
ข้าวจ้าว
948
กก



ข้าวเหนียว
153
กก
26
ประชาชนหมู่ที่6เงินสด
       1,850.00
ข้าวจ้าว
661
กก



ข้าวเหนียว
0
กก
27
ประชาชนหมู่ที่ 7เงินสด
       2,520.00
ข้าวจ้าว
722
กก



ข้าวเหนียว
0
กก
28
ประชาชนหมู่ที่ 8เงินสด
       2,383.00
ข้าวจ้าว
776
กก



ข้าวเหนียว
0
กก
29
ครูบ้านผักขะและบางส่วนบ้านลิ้นฟ้า
          640.00



30
สายคุณอรุณ-คุณสุขุมโรงแรมดุสิตธานี
       5,451.50



31
สายคุณสุพัตรา ศิริบูรณ์รพ.ยางชุมน้อย
          660.00



32
รร.บ้านแก้ง+สวบุญชง+ลิ้นฟ้าพิทยา+บางส่วนยชพ.
       2,245.00



33
สายคุณทองพูน วะรงค์ SpI
       2,241.00



34
สายอนามัยบุญมา นามวงษ์บ้านผักแพรว
       1,756.00



35
แม่บัวศรีกับอาจารย์รัชฎาพร  ดีจรัส
       2,000.00



36
สายวค.ดุสิตคุณพรพิมล,คุณไพวัลย์ โมทะจิตร
       6,161.00



37
สายอนามัยสุวรรณ วะรงค์ บ้านพันลำ
       1,445.00



38
สายระยองคุณบูชา-คุณวิจิตร-คุณโยพาและคณะ
       8,000.00



39
สายนนทบุรี คุณสันติ นามวงษ์และคณะ
       1,320.00



40
คุณบรรจง จันทะศิลา
          500.00



41
คุณชัชวาล มะณูและเพื่อน
       2,392.00



42
ซองเล็กคณะอตก.คุณพูลทรัพย์นำมาโดยทวีพงษ์
          280.00



43
คณะครูโรงเรียนบ้านบอน
          350.00



44
สายคุณจารุณี นามวงษ์ รร.ศรีรัตนะ
       1,430.00



45
สายบริษัทบันดลอุตสาหกรรมบางส่วน
       1,250.00



46
สายคุณศิรินทร สมุทรปราการ
       9,640.00



47
ผอ.สรวิทย์ นามวงษ์
          500.00



48
สายคุณณัฐพล +คุณสุพรรณ  มะณู(ศรีน้อย)
       2,810.00



49
สายคุณชฎาพร อำไพ รพ.ยางชุมน้อย+วนิดา สมใจ
          807.00



50
สายตำรวจพยุห์,กันทรลักษ์,เบญจลักษ์
       7,600.00



51
ผอ.ณรงค์   นามวงษ์
          100.00



52
ประธานหยุย นามวงษ์
          100.00



53
หน.ปอ.ประดิษฐ ศิลาบุตร
          200.00



54
สายคุณสันติ นามวงษ์เพิ่ม
          537.00



55
อบต.อุดม ขันคำ
          200.00



56
เภสัชกรสมชาย ชาลี
       1,000.00



57
อาจารย์อรุณี กันหะบุตร
          300.00



58
รต.สำรวย ขวัญศรี พวงขาว
          200.00



59
นายอำเภอสุริยะ วิริยะสวัสดิ์
          300.00



60
อาจารย์ศราวุฒิ นามวงษ์
          200.00



61
วค.ดุสิตสายคุณอ้อยสุมนทา+ฑัณทิกา ขันคำ
       2,900.00



62
สาย ดต.ทองพิน สีหะวงษ์ด่านช่องเม็ก
       7,170.00



63
สายคุณรจนา+ศรีวิไล นามวงษ์
       1,657.00



64
สายคุณจำปี  เสาเวียง SK อพาทเม้นท์
       2,640.00



65
สายคุณอ้อยสุภาวดี มะณู(ลูกพ่อใหญ่ดำ)
       4,785.00



66
สายคุณเพชรรัตน์ ทัดเทียม(ผกา รพ.ไพรบึง)
       1,915.00



67
สายคุณสมใจ มาสอน(สอ.บ้านยางชุมใหญ่)
          480.00



68
อ.พรหมา  อธิบุตร
          100.00



69
สายครูโรงเรียนบ้านหอย
          460.00



70
ทนายไพฑูรย์  ทองเสี่ยน
          500.00



71
สายสภอ.เมืองศรีสะเกษ(ตำรวจจรูญ นามวงษ์)
       4,014.25



72
อาจารย์สถิตย์ วิทยาลัยเทคนิค
       1,500.00
และออกรับบริการเครื่องเสียง
73
สจ.วีระชัย  จักรวรรณพร
          500.00



74
ผู้บริจาค
          320.00



75
สายคุณดอกรัก  ศรีวิเศษลูกพ่อใหญ่ศักดิ์
       1,496.00



76
สายคุณโสภา+คุณวรรณา แก้วพวง(ลูกพ่อป้อม)
       3,979.00



77
สายคุณเทียมจันทร์ พ่อคำภา แม่คำตาและคณะ
       8,110.00



78
สายคุณปริญญา รพ.ศรีสะเกษ
          700.00



79
สาย บ.เด็นโซ่คุณคำอินทร์+คุณแพรวนภา
       5,894.00



80
สายคุณสุทธิรักษ์(เดือน)+อตก.พูลทรัพย์
       3,419.00



81
ขายข้าวเหนียวได้เงิน
       2,529.00



82
สายคุณคณิต รพ.ยางชุมน้อย
          260.00



83
สว.ชิต เจริญประเสร็ฐ
          200.00



84
คณะเสียงอีสานคุณอุไร สีหะวงษ์และคณะ
    20,000.00



85
คุณประภัสสร
          100.00



86
สายตาพระยา คุณป๋อง ขันคำและคณะ
          820.00



87
สายคุณสิทธิเดช ขันคำ รพ.ขุนหาญ
       1,730.00



88
สายอบต.ยางชุมใหญ่
       1,678.00



89
สายรร.บ้านโนนคูณ
          348.00



90
สายซุ่นเฮง คุณสุรีจันทร์ สมใจ
          308.00



91
พยาบาลดวงพร  แซ่ลิ้ม
          500.00



92
พลเอกวรพันธ์ วรศักดิ์โยธิน
          600.00



93
รับเงินขายข้าวจ้าว
    25,610.00



94
แจ้งยอดคาดว่าจะบริจาคจองเป็นช่องประธานสุริยา

    1,800.00


95
รองประธานนิยม

    1,800.00


96
อ.ภิญโญ

    1,800.00


97
ปู่วรพจน์

    1,800.00


98
ผอ.วิจิตร นามวงษ์

    5,000.00


99
กรรมการหนูพัฒน์  ขันคำ

    1,800.00









รวมยอดที่จะรับทั้งสิ้น           เงินสด
  199,748.75
 รอรับเงินครู
  36,000.00


รวมทั้งหมดจะเป็นเงิน
  235,748.75
 บาท









รายจ่าย
    30,824.00
 บาท









ฝากธนาคารไปแล้ว  17 เมษายน 2545
  117,850.00
 บาท



เงินสดในมือรอไปฝากอีก20 เมษายน 2545
    50,994.00
 บาท



เงินในถุงยาง
            80.75










รายรับลบด้วยรายจ่ายเงินจะเหลือทั้งสิ้น
204,924.75
 บาท





ขอขอบคุณข้อมูลดีที่มีประโยชน์จาก
 อาจารย์ซุนย้ง  แซ่เตียว
*ข้อมูลบางส่วนอาจมีส่วนที่เข้าใจผิดพลาดจึงขออภัย ณที่่นี้ด้วย*

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น